วันศุกร์ที่ 9 สิงหาคม พ.ศ. 2556

บันทึกอนุทินครั้งที่  8
ประจำวันที่  9  เดือน สิงหาคม  พ.ศ  2556
    กิจกรรมระหว่างเรียน
            ทำหนังสือนิทานร่วมกันทั้งห้อง  ดดยแบ่งกลุ่ม  4-5 คน  โดยตั้งชื่อเรื่ิงว่า  ลูกหมูแสนซน
    โดยกิจกรรมในวันนี้จัดขึ้นเพื่อ สร้างปฏิสัมพันธ์ที่ดีกับเพื่อน  และทักษะด้านร่างกาย  อารมณ์  สติปัญญา สังคม  ให้เด็กฝึกสมาธิ
** เหมาะสมกับวัย 0.2 - 0.3


บันทึกอนุทินครั้งที่  7

ประจำวันที่  26  เดือน กรกฎคม  .. 2556

   การประเมิน

1.           ใช้เครื่องมือในการประเมินที่หลากหลาย 


2.            เน้นที่ความก้าวหน้าของเด็ก



3.             ประเมินจากบริบทที่หลากหลาย


4.              ให้เด็กมีโอกาสประเมินตนเอง



5.              ครูให้ความสนใจทั้งกระบวนการและผลงาน


6.              ประเมินเด็กเป็นรายบุคคล



ตัวอย่าง  กิจกรรมส่งเสริมทักษะทางภาษา

-            การเขียนตามคำบอก

-          ช่วยเด็กเขียนบันทึก

-          อ่านนิทานร่วมกัน

-          เขียนประกาศเพื่อแจ้งข่าว  เตือนความจำ

-          อ่านคำคล้องจ้อง

-          ร้องเพลง

-          เล่าสู่กันฟัง

-          เขียนส่งสารถึงกัน
บันทึกอนุทินครั้งที่  6 
ประจำวันที่  19  เดือน กรกฏาคม พ.ศ  2556
    แนวทางการจัดประสบการณืทางภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย

  1. เน้นทักษะทางภาษา
  • ให้เด็กได้รู้จักส่วนย่อยของภาษา
  • การประสมคำ
  • ความหมายของคำ
   2.    การสอนภาษาแบบธรรมชาติ
    ** มีการดูวีด๊โอ **
  1. มีการจัดบอร์ด  พยากรณ์อากาศ  หรือสื่อ
  2. ทุกสิ่งทุกอย่างเป็นธรรมชาติทั้งหมด
  3. อย่าคาดหวังว่า  เด็กทุกคนมีการเรียนรู้ที่เหมือนกัน
-   การสอน
  •     สอนในสิ่งที่เด็กสนใจ
  •    การฟังที่ไม่ใช่การได้ยิน
  •    บ้านและโรงเรียน
  •    อ่านนิทาน  เล่านิทาน
  •    การเขียน
  •    การยอมรับถึงคำพูด
                               ทฤษฎีที่มีอิทธิพลต่อการสอนแบบธรรมชาติ 
          Dewey       Piaget        Vygotsky       Haliday
  • การสอนภาษาธรรมชาติ
  • หลักการสอนภาษาแบบธรรมชาติ  มีองค์ประกอบ
  1. การจัดสภาพแวดล้อม
  2. การสื่อสารที่มีความหมาย
  3. การเป็นแบบอย่าง
  4. การตั้งความ
  5. การคาดคะเน
  6. การใช้ข้อมูลย้อนกลับ
  7. การยอมรับนับถือ
  8. การสร้างความรู้สึกเชื่อมั่น
                              บทบาทครู
  • ครุคาดหวังเด็กแต่ละคนแตกต่างกัน
  • ใช้ประสบการณ์ตรงในการสนับสนุน 
  • การอ่านครูควรยอมรับความไม่รุ้ของเด็ก
  • ครูสร้างความสนใจของคำและสิ่งพิมพ์

  •